หลักสูตรการเรียนการสอน

การจัดการศึกษาของวิทยาลัยพณิชยการบางนา

            ปัจจุบันวิทยาลัยพณิชยการบางนา  สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา  กระทรวงศึกษาธิการ  เปิดสอน  3  ระดับ  คือ  ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ, ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง ทั้งในระบบและระบบทวิภาคี และระดับปริญญาตรีหลักสูตรเทคโนโลยีบัณฑิตระบบทวิภาคี ได้แก่

  •  ระบบปกติ (ในระบบ)
  • ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) มี 3 ประเภทวิชา
  • ประเภทวิชาพณิชยกรรม 
          1. สาขาวิชาการบัญชี
          2. สาขาวิชาการบัญชี (MEP : Mini English Program)
          3. สาขาวิชาการตลาด
          4. สาขาวิชาการจัดการสำนักงาน
          5. สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ
          6. สาขาวิชาภาษาต่างประเทศ  (อังกฤษ)
          7. สาขาวิชาภาษาต่างประเทศ  (จีน)
          8. สาขาวิชาการจัดการโลจิสติกส์ 
  • ประเภทวิชาอุตสาหกรรมการท่องเที่ยว
          1. สาขาวิชาการโรงแรม (MEP) 
          2. สาขาวิชาการท่องเที่ยว
  • ประเภทวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ
          1. สาขาวิชาเทคโนโลยีสารเทศ
  • ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) มี 3 ประเภทวิชา
  • ประเภทวิชาบริหารธุรกิจ
          1. สาขาวิชาการบัญชี
          2. สาขาวิชาการตลาด
          3. สาขาวิชาเทคโนโลยีธุรกิจดิจิทัล (สาขางานธุรกิจอีคอมเมิร์ช) 
          4. สาขาวิชาการจัดการโลจิสติกส์และซัพพลายเชน (สาขางานการจัดการคลังสินค้า)
  • ประเภทวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
          1. สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ (สาขางานนักบริหารจัดการระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์และความปลอดภัย)

เป็นการจัดการศึกษาโดยความร่วมมือระหว่างสถานประกอบการกับสถานศึกษา 3 ระดับ ระดับ ปวช. ปวส.  และปริญญาตรี  เรียนทฤษฏีในวิทยาลัยฯ  เรียนปฏิบัติ  ฝึกวิชาชีพและปฏิบัติจริงในสถานประกอบการตลอดหลักสูตร  โดยนักเรียนนักศึกษาจะเป็นพนักงานฝึกหัดของสถานประกอบการนั้น

  • ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) มี 2 สาขาวิชา
      1. สาขาวิชาธุรกิจค้าปลีก (สาขางานธุรกิจค้าปลีกสมัยใหม่ และสาขางานธุรกิจอาหารและบริการ)
      2. สาขาวิชาการโรงแรมและบริการ
  • ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) มี 2 ประเภทวิชา
  • ประเภทวิชาบริหารธุรกิจ  มี  6 สาขาวิชา
          1. สาขาวิชาการบัญชี
          2. สาขาวิชาการตลาด
          3. สาขาวิชาเทคโนโลยีธุรกิจดิจิทัล (สาขางานธุรกิจดิจิทัล)
          4. สาขาวิชาการจัดการ
          5. สาขาวิชาการจัดการโลจิสติกส์และซัพพลายเชน (สาขางานการจัดการคลังสินค้า และสาขางานตัวแทนออกของ)
          6. สาขาวิชาการจัดการธุรกิจค้าปลีก (สาขางานธุรกิจค้าปลีกสมัยใหม่ และสาขางานธุรกิจอาหารและบริการ
  • ประเภทวิชาอุตสาหกรรมท่องเที่ยว มี  2 สาขาวิชา
          1. สาขาวิชาการโรงแรม 
          2. สาขาวิชาการจัดประชุมและนิทรรศการ
  • ระดับปริญญาตรีหลักสูตรเทคโนโลยีบัณฑิต(ระบบทวิภาคี) มี 4 สาขาวิชา
    1. สาขาวิชาเทคโนโลยีธุรกิจดิจิทัล
    2. สาขาวิชาการโรงแรม
    3. สาขาวิชาการจัดการโลจิสติกส์
    4. สาขาวิชาการบัญชี

**ระบบทวิภาคีคืออะไร